“Beautiful World by Our Hand”

ชื่อเรื่อง (Topic): : Beautiful world by Our hand (โลกสวยด้วยมือเรา) ตระหนักถึงปัญหา (Main Idea): การเปลี่ยนแปลงทางกายภาพของโลกทั้งที่เกิดจากธรรมชาติและการกระทำของมนุษย์ส่งผลให้เกิดภัยพิบัติเช่น ภาวะโลกร้อน แผ่นดินไหว น้ำท่วม ไฟป่า ซึ่งส่งผลกระทบต่อการดำรงชีวิตของสิ่งมีชีวิตบนโลก ดังนั้นทุกคนจำเป็นต้องเข้าใจและหาแนวทางป้องกันร่วมกัน ปฏิทินการเรียนรู้โครงงาน “Beautiful World by Our Hand” ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 สัปดาห์ที่ เนื้อหา/สาระ กิจกรรม ภาระงาน/ชิ้นงาน สื่อ / แหล่งเรียนรู้ 1 สร้างฉันทะ และแรงบันดาลใจในการเรียนรู้ Key Questions - อีก 20 ปีข้างหน้าอาหารที่ดี น้ำดื่มที่สะอาดมีราคาสูงและหาบริโภคได้ยากผู้คนอดอยาก นักเรียนจะทำอย่างไร - โรคระบาดหรือโรคใหม่ๆเกิดขึ้นเยอะเชื้อโรคดื้อยากลายพันธุ์ เพราะสิ่งต่างๆในโลกได้เปลี่ยนแปลงไปนักเรียนจะมีวิธีป้องกันและรับมืออย่างไร - นักเรียนเห็นอะไรจากการดูคลิป/ข่าว/เรื่องเล่า ปัญหาต่างๆ เกี่ยวกับโลก - สร้างฉันทะ และสร้างแรงบันดาลใจ เพื่อให้สนใจที่จะเรียนรู้ - กระบวนการได้มาซึ่งหัวเรื่องโครงงาน - ครูกระตุ้นด้วยภาพ/คลิป/ข่าวดู สารคดีเกี่ยวกับทำนาย สึนามิ ปี ค.ศ. 2012 วันโลกาวินาศ สารคดีเรื่อง Home หน้าต่างโลก และดูคลิป รอบรู้ธรณีไทย - เลือกหัวข้อที่อยากเรียนโดยใช้เทคนิค Place Mat และ Black Board Share - ให้นักเรียนแต่ละกลุ่มนำเสนอหัวข้อที่ต้องการเรียนว่ามีความน่าสนใจอย่างไร และถ้าเรียนจะได้ทำอะไรบ้าง - เลือกหัวข้อที่จะเรียน / ตั้งชื่อโครงงาน - สรุปสัปดาห์ที่ 1 - สิ่งที่ได้เห็นจากสารคดีและภาพยนตร์ - หัวข้อที่จะเรียน - สรุปสัปดาห์ที่ 1 คลิป / ภาพยนตร์ / สารคดี 2 กระบวนการได้มาซึ่งหัวข้อและกิจกรรมการเรียนโครงงาน Key Questions - ผลกระทบโดยตรงต่อตัวนักเรียนในการดำรงชีวิตมีอะไรบ้างเพราะปัจจุบันโลกเปลี่ยนแปลงไปเช่น อากาศแปรปรวนหรือปลาในน้ำลดจำนวนลง - นักเรียนจะทำอย่างไรเมื่อผู้ปกครองที่มีอาชีพเกษตรกรรมไม่มีน้ำหรือฝนตกจนน้ำท่วมพืชผลทางการเกษตร - ให้นักเรียนช่วยกันจัดหมวดหมู่คำถาม เพื่อให้ได้ประเด็นคำถามที่เป็นปัญหาสำคัญ - ครูกระตุ้นด้วยคำถาม อะไรคือปัญหาที่ยิ่งใหญ่ที่สุด นักเรียนอยากเรียนรู้เรื่องอะไร และทำไมถึงอยากเรียนรู้เรื่องนั้น (Think Pair Share) - เลือกหัวข้อที่อยากเรียนรู้ / ตั้งชื่อโครงงาน (Blackboard Share) - ครูกระตุ้นด้วยคำถามในโครงงานนี้นักเรียนรู้อะไรบ้างแล้ว และอะไรคือสิ่งที่อยากเรียนรู้เพิ่มเติม (สิ่งที่รู้แล้วและสิ่งที่อยากเรียนรู้) - นักเรียนแต่ละคนนำเสนอ Show and Share - ทำ Mind mapping ก่อนเรียน - ทำปฏิทินการเรียนรู้ 10 สัปดาห์ และตกแต่งให้สวยงาม - สิ่งที่รู้แล้วและสิ่งที่อยากเรียนรู้ - Mind mapping ก่อนเรียน - ปฏิทินการเรียนรู้ 10 สัปดาห์ - สรุปสัปดาห์ที่ 2 กระดาน / บรรยากาศในห้องเรียน สัปดาห์ที่ เนื้อหา/สาระ กิจกรรม ภาระงาน/ชิ้นงาน สื่อ / แหล่งเรียนรู้ 3 - ความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับกำเนิดโลกและจักรวาล - สภาพอากาศและการเกิดฤดูกาล Key Questions - โลกกำเนิดขึ้นได้อย่างไร - ฤดูกาลเกี่ยวข้องกับสัมพันธ์กับสิ่งได้บ้าง - ถ้าไม่มีโลกนี้จะเกิดอะไรขึ้น และเราจะอยู่บนโลกนี้อย่างไร - ปัจจุบันมีข่าวการเสียชีวิตจากอากาศที่ร้อนจัดของคนในแถบทวีปยุโรปทั้งๆที่ความเป็นจริงน่าจะหนาวทั้งปีหรืออากาศไม่ร้อนจัด นักเรียนคิดว่าเป็นเพราะเหตุใดจึงเป็นเช่นนั้นและนักเรียนคิดว่าจะมีวิธีแก้ไขหรือไม่ - เด็กๆจะเผยแพร่ภาวะการเปลี่ยนแปลงของโลกให้ผู้อื่นเข้าใจได้อย่างไร - ดูวีดีทัศน์ / ศึกษาข้อมูลจาก อินเทอร์เน็ต / ห้องสมุดนำมาสรุป - นำเสนอ Show and Share - ออกแบบแผ่นพับพร้อมทั้งค้นคว้าหาข้อมูล - การทดลองรุ้งกินน้ำและการเกิดภูเขาไฟ - สรุปสัปดาห์ที่ 3 - ชาร์ตความรู้ - การนำเสนอ (Show and Share) - การทดลอง - สรุปสัปดาห์ที่ 3 คลิป / สารคดี / ห้องสมุด / อินเทอร์เน็ต / บรรยากาศในห้องเรียน 4 ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการเกิดปรากฏการณ์ ทางธรรมชาติ เช่น ลมบก ลมทะเล สุริยุปราคา จันทรุปราคา ข้างขึ้น ข้างแรม ฝนดาวตก Key Questions - ถ้าโลกนี้เกิดการหยุดนิ่งไร้ซึ่งฤดูกาล นักเรียนคิดว่าจะมีผลกระทบหรือไม่และจะแก้ปัญหาอย่างไร - จะเกิดอะไรขึ้นถ้าโลกนี้ไม่หมุนรอบตัวเอง และไม่โคจรรอบดวงอาทิตย์ - ดูคลิป การเกิดสุริยุปราคา จันทรุปราคา ฝนดาวตก และสารคดีเกี่ยวกับปรากฏการณ์ทางธรรมชาติ - ค้นคว้าข้อมูลจากอินเทอร์เน็ต ห้องสมุด เพิ่มเติม - นำเสนอรายงานหน้าชั้น (Show and Share) - รายงาน การเกิดปรากฏการณ์ทางธรรมชาติ - สรุปสัปดาห์ที่ 4 - สรุปความเข้าใจที่ได้จากการดูคลิป - รายงานการนำเสนอ (Show and Share) - สรุปสัปดาห์ที่ 4 คลิป / สารคดี / ห้องสมุด / อินเทอร์เน็ต / บรรยากาศในห้องเรียน สัปดาห์ที่ สาระสำคัญ (เป้าหมายหลัก) เนื้อหา/กิจกรรม ภาระงาน/ชิ้นงาน สื่อ / แหล่งเรียนรู้ 5 ความรู้และเข้าใจเกี่ยวกับภาวะโลกร้อน ( ภาวะเรือนกระจก ) สาเหตุ ผลกระทบและวิธีช่วยลดภาวะโลกร้อน / มลพิษต่างๆ นั้น Key Questions - จะเกิดอะไรขึ้นหากเด็กๆไม่สามารถหายใจด้วยตัวเองได้ เพราะเหตุใดจึงเป็นเช่น - หากวันหนึ่งที่นักเรียนตื่นมาใช้ชีวิตประจำวันอากาศบริสุทธิ์เหลือน้อยเต็มที ต้องพกถังออกซิเจนและสวมหน้ากากป้องกันตลอดเวลา นักเรียนจะทำอย่างไร - ดูคลิปและสารคดีเกี่ยวกับภาวะโลกร้อน และน้ำแข็งขั้วโลกละลาย - วาดภาพสื่อเกี่ยวกับภาวะโลกร้อน/ภาวะเรือนกระจก - การเขียนแผ่นพับและการ์ด เพื่อรณรงค์ประหยัดพลังงาน - ค้นคว้า สรุปและนำเสนอ Show and Share - การทดลองเรื่องดิน น้ำ และการคายน้ำของพืช - อบรมการทำหนังสั้นเบื้องต้น - เริ่มกิจกรรมเพื่อทำหนังสั้นวางแผนการทำหนังสั้นและแบ่งหน้าที่ของตนเอง - สรุปสัปดาห์ที่ 5 - แผ่นพับและ การ์ดรณรงค์การประหยัดพลังงาน - วาดภาพสื่อภาวะโลกร้อน - การนำเสนอ (Show and Share) เรื่องที่ได้ศึกษา - สรุปสัปดาห์ที่ 5 คลิป / สารคดี / ห้องสมุด / อินเทอร์เน็ต / บรรยากาศในห้องเรียน 6 ความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับลักษณะทางภูมิศาสตร์ ทรัพยากรธรรมชาติ และวิธีการอนุรักษ์ Key Questions -นักเรียนจะดำรงชีวิตบนพื้นที่ราบลุ่ม น้ำท่วมถึง และเกิดภาวะดินถล่มได้อย่างไร รวมทั้งจะหาวิธีป้องกันหรือแก้ไขปัญหานี้อย่างไร - หากนักเรียนต้องทำการเกษตรในที่ราบลุ่มเกิดภาวะน้ำท่วมและดินถล่มเกิดความเสียหายนักเรียนจะแก้ปัญหานี้อย่างไร - แบ่งกลุ่มศึกษาค้นคว้าข้อมูลจากอินเทอร์เน็ต ห้องสมุด / ดูสารคดีเกี่ยวกับทรัพยากรธรรมชาติ - สรุปและนำเสนอ Show and Share - เดินสำรวจและศึกษาธรรมชาติในโรงเรียน และวาดภาพธรรมชาติพร้อมทั้งและอธิบายความสัมพันธ์ - สรุปสัปดาห์ที่ 6 - ชาร์ตทรัพยากร ธรรมชาติต่างๆ - การเขียนสรุป/ภาพวาดธรรมชาติ - สรุปสัปดาห์ที่ 6 คลิป / สารคดี / ห้องสมุด / อินเทอร์เน็ต / บรรยากาศในห้องเรียน 7 ความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับภัยธรรมชาติ Key Question - ภัยธรรมชาติส่งผลต่องสิ่งได้บ้าง - หากนักเรียนต้องประสบกับพายุเฮอร์ริเคนที่รุนแรงมากเกิดภัยพิบัติทางธรรมชาติพัดทำลายบ้านเรือนเสียหายและยังมาพร้อมกับอุทกภัยครั้งใหญ่ ไฟฟ้าดับทั้งเมืองโทรศัพท์ติดต่อไม่ได้ นักเรียนจะทำอย่างไร มีวิธีเอาตัวรอดอย่างไร - ศึกษาค้นคว้าข้อมูลจากอินเทอร์เน็ต ห้องสมุด / ดูสารคดีเกี่ยวกับทรัพยากรธรรมชาติและภัยธรรมชาติ -สรุปและนำเสนอ Show and Share - Flipbook เกี่ยวกับภัยธรรมชาติและการเปลี่ยนแปลงของโลกได้ศึกษามา - สรุป Mind mapping เกี่ยวกับภัยธรรมชาติ - สรุปสัปดาห์ที่ 7 - การนำเสนอรายงานหน้าชั้นเรียน - ชาร์ตความรู้ - Flipbook เกี่ยวกับภัยธรรมชาติ - Mind mapping เกี่ยวกับภัยธรรมชาติ - สรุปสัปดาห์ที่ 7 คลิป / สารคดี / ห้องสมุด / อินเทอร์เน็ต / บรรยากาศในห้องเรียน 8 โลกและการเปลี่ยนแปลงในอนาคต Key Questions ถ้าทุกคนในสังคมมองไม่เห็นถึงความสำคัญของการดูแลโลกจะเป็นอย่างไรและนักเรียนจะมีวิธีช่วยโลกอย่างไร - ระดมความคิดเกี่ยวกับแนวโน้มที่โลกเราจะเปลี่ยนไปในทางใดบ้างในอนาคต จะมีเทคโนโลยีในอนาคตที่มีผลต่อการเปลี่ยนแปลงของโลกอย่างไร - อภิปรายเกี่ยวกับการหาวิธีรณรงค์รักษาโลกของเรา - นำเสนอ Show and Share - สรุปองค์ความรู้สัปดาห์ที่ - รวบรวมเนื้อหาทั้งหมดนำเสนอความคืบหน้าและดำเนินการถ่ายทำต่อ - เริ่มการตัดต่อเพื่อทำหนัง - สรุปสัปดาห์ที่ 8 - การร่วมเสนอความคิดเห็น - ความคืบหน้าการทำหนังสั้น - การทำงานเป็นกลุ่ม - สรุปสัปดาห์ที่ 8 คลิป / สารคดี / ห้องสมุด / อินเทอร์เน็ต/ ผู้รู้(คุณครู) สัปดาห์ที่ สาระสำคัญ (เป้าหมายหลัก) เนื้อหา/กิจกรรม ชิ้นงาน สื่อ / แหล่งเรียนรู้ 9 การวางแผนเพื่อนำเสนอ Key Questions นักเรียนจะเผยแพร่องค์ความรู้เกี่ยวกับการอนุรักษ์โลกด้วยวิธีง่ายๆและทำให้ผู้อื่นทราบพร้อมตะหนักถึงสิ่งสำคัญนั้นได้อย่างไร - ครูแนะนำเพิ่มเติมเกี่ยวกับการนำเสนองานในมุมมองต่างๆที่น่าสนใจ - วางแผน การสรุปและการแสดงเพื่อถ่ายทอดความรู้ให้ผู้อื่นเข้าใจ - นักเรียนและครูสนทนาถึงปัญหา อุปสรรค และข้อเสนอแนะจากการเรียนโครงงาน - รณรงค์ประชาสัมพันธ์เกี่ยวกับประโยชน์และเนื้อหาสาระที่มีในการนำเสนอของนักเรียนเองที่เผยแพร่ในครั้งนี้ - สรุปสัปดาห์ที่ 9 - การเตรียมนำเสนอ - การแก้ปัญหาและการทำงานเป็นกลุ่ม - Mind mapping หลังเรียน - สรุปสัปดาห์ที่ 9 - Internet - ผู้รู้ (ครู) 10 - สรุปและนำเสนอความเข้าใจเกี่ยวกับโครงงานการเปลี่ยนแปลงของโลกและธรรมชาติ - การตกผลึกความรู้เกี่ยวกับสิ่งที่เรียนรู้มาทั้งหมด - การนำเสนอโครงงานที่ศึกษาให้ผู้อื่นเข้าใจ Key Questions - นักเรียนคิดว่าอะไรที่ตนเองทำได้ดีแล้ว อะไรที่ควรปรับปรุง - นักเรียนประสบปัญหา และอุปสรรคอะไรบ้าง และอยากเสนอแนะอะไรบ้างจากการเรียนโครงงานเพื่อที่จะนำไปปรับปรุงครั้งต่อไป - นักเรียนสรุป Mind mapping หลังเรียน - นักเรียนสรุป สิ่งที่ทำได้ดีแล้วและสิ่งที่ควรปรับปรุง - นักเรียนและครูสนทนาถึงปัญหา อุปสรรค และข้อเสนอแนะจากการเรียนโครงงานเพื่อที่จะนำไปปรับปรุงในโครงงานต่อไป - สรุปสัปดาห์ที่ 10 - Mind mapping หลังเรียน - สรุปปัญหา/อุปสรรค และข้อเสนอแนะในการเรียนและการทำกิจกรรมโครงงาน - นำเสนอสรุปโครงงาน(ฉายหนังสั้น) - สรุปสัปดาห์ที่ 10 - ร่มไผ่ - ห้องเรียน - เวทีอาคารประถม - อุปกรณ์การนำเสนอการแสดง 1. - อีก 20 ปีข้างหน้าอาหารที่ดี น้ำดื่มที่สะอาดมีราคาสูงและหาบริโภคได้ยากผู้คนอดอยาก นักเรียนจะทำอย่างไร - โรคระบาดหรือโรคใหม่ๆเกิดขึ้นเยอะเชื้อโรคดื้อยากลายพันธุ์ เพราะสิ่งต่างๆในโลกได้เปลี่ยนแปลงไปนักเรียนจะมีวิธีป้องกันและรับมืออย่างไร - นักเรียนเห็นอะไรจากการดูคลิป/ข่าว/เรื่องเล่า ปัญหาต่างๆ เกี่ยวกับโลก 2. - ผลกระทบโดยตรงต่อตัวนักเรียนในการดำรงชีวิตมีอะไรบ้างเพราะปัจจุบันโลกเปลี่ยนแปลงไปเช่น อากาศแปรปรวนหรือปลาในน้ำลดจำนวนลง - นักเรียนจะทำอย่างไรเมื่อผู้ปกครองที่มีอาชีพเกษตรกรรมไม่มีน้ำหรือฝนตกจนน้ำท่วมพืชผลทางการเกษตร 3. หากนักเรียนต้องทำการเกษตรในที่ราบลุ่มเกิดภาวะน้ำท่วมและดินถล่มเกิดความเสียหายนักเรียนจะแก้ปัญหานี้อย่างไร 4. หากนักเรียนต้องประสบกับพายุเฮอร์ริเคนที่รุนแรงมากเกิดภัยพิบัติทางธรรมชาติพัดทำลายบ้านเรือนเสียหายและยังมาพร้อมกับอุทกภัยครั้งใหญ่ ไฟฟ้าดับทั้งเมืองโทรศัพท์ติดต่อไม่ได้ นักเรียนจะทำอย่างไร มีวิธีเอาตัวรอดอย่างไร 5. - หากวันหนึ่งที่นักเรียนตื่นมาใช้ชีวิตประจำวันอากาศบริสุทธิ์เหลือน้อยเต็มที ต้องพกถังออกซิเจนและสวมหน้ากากป้องกันตลอดเวลา นักเรียนจะทำอย่างไร 6. - ปัจจุบันมีข่าวการเสียชีวิตจากอากาศที่ร้อนจัดของคนในแถบทวีปยุโรปทั้งๆที่ความเป็นจริงน่าจะหนาวทั้งปีหรืออากาศไม่ร้อนจัด นักเรียนคิดว่าเป็นเพราะเหตุใดจึงเป็นเช่นนั้นและนักเรียนคิดว่าจะมีวิธีแก้ไขหรือไม่ 7. - ถ้าโลกนี้เกิดการหยุดนิ่งไร้ซึ่งฤดูกาล นักเรียนคิดว่าจะมีผลกระทบหรือไม่และจะแก้ปัญหาอย่างไร 8. - ถ้าทุกคนในสังคมมองไม่เห็นถึงความสำคัญของการดูแลโลกจะเป็นอย่างไรและนักเรียนจะมีวิธีช่วยโลกอย่างไร 9. - นักเรียนจะเผยแพร่องค์ความรู้เกี่ยวกับการอนุรักษ์โลกด้วยวิธีง่ายๆและทำให้ผู้อื่นทราบพร้อมตะหนักถึงสิ่งสำคัญนั้นได้อย่างไร 10. - นักเรียนคิดว่าอะไรที่ตนเองทำได้ดีแล้ว อะไรที่ควรปรับปรุง - นักเรียนประสบปัญหา และอุปสรรคอะไรบ้าง และอยากเสนอแนะอะไรบ้างจากการเรียนโครงงานเพื่อที่จะนำไปปรับปรุงครั้งต่อไป

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น